Page 36 - Kaset Thai International Sugar Corporation Public Company Limited : Annual Report 2014 TH
P. 36
กรุ๊ป จ�ากัด (Sinotac Group Pte Ltd.) จัดตั้ง บริษัท เอกรัฐพัฒนา จ�ากัด (“EPC”) เพื่อด�าเนินธุรกิจผลิตและจัดจ�าหน่ายเอทานอล
ซึ่งใช้กากน�้าตาลที่เหลือใช้จากกระบวนการผลิตน�้าตาลทรายเป็นวัตถุดิบ ณ ปัจจุบัน EPC มีขนาดก�าลังการผลิต 230,000 ลิตรต่อวัน
ในปี พ.ศ. 2553 กลุ่มครอบครัวศิริวิริยะกุล ได้ริเริ่มโครงการน�าชานอ้อยซึ่งเป็นของเสียจากกระบวนการผลิตน�้าตาล (กากอ้อย)
มาใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตเยื่อกระดาษและเป็นวัตถุดิบในการผลิตไฟฟ้า โดยได้จัดตั้ง บริษัท เกษตรไทยไบโอเพาเวอร์ จ�ากัด (“KTBP”)
เพื่อด�าเนินธุรกิจโรงไฟฟ้าชีวมวลขนาดก�าลังการผลิต 60 เมกะวัตต์ และได้เปิดด�าเนินการเชิงพาณิชย์แล้วเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2556
ในปี พ.ศ. 2554 กลุ่มครอบครัวศิริวิริยะกุล ได้เล็งเห็นถึงประโยชน์ในการใช้กากตะกอนหม้อกรอง (filter cake) ซึ่งเป็น
ของเสียการกระบวนการผลิตน�้าตาล และน�้าเสียที่มาจากกระบวนการผลิตก๊าซชีวภาพและการผลิตเอทานอล น�ามาผลิตเป็น สารปรับปรุง
ดิน และปุ๋ยอินทรีย์ ทั้งชนิดเป็น ผง และเป็นเม็ด โดยได้จัดตั้งบริษัท เกษตรไทยปุ๋ยชีวภาพ จ�ากัด (“KTBF”) ภายใต้ EPC เพื่อขยาย
ธุรกิจอุตสาหกรรมต่อเนื่อง ซึ่ง ปัจจุบัน KTBF เปิดด�าเนินการแล้ว และมีเป้าหมายก�าลังการผลิตทั้งสิ้น 9,000 ตันต่อปีในปี พ.ศ. 2558
ในปี พ.ศ. 2555 บริษัทฯ ได้ด�าเนินการพัฒนาระบบเก็บเกี่ยวอ้อย เพื่อเพิ่มคุณภาพและศักยภาพงานด้านไร่ควบคู่กับ
การเติบโตของบริษัทฯ โดยการเข้าท�าสัญญาซื้อรถตัดอ้อย จอห์นเดียร์ (John Deere) จ�านวน 40 คัน กับ บริษัท ที เค อีควิปเมนท์
จ�ากัด ตัวแทนผู้จัดจ�าหน่ายสินค้า จอห์นเดียร์ ในประเทศไทยโดยมีเงื่อนไขว่า จอห์นเดียร์ จะเข้ามาช่วยอบรมและแนะน�าเจ้าหน้าที่พนักงาน
บริษัทฯ ในการดูแล ซ่อมแซม และพัฒนาเครื่องมือและอุปกรณ์ฝ่ายไร่ของบริษัทฯ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปลูกอ้อยของชาวไร่ และ
ขยายปริมาณวัตถุดิบแก่โรงงานของกลุ่มบริษัทฯ
ในปี พ.ศ. 2556 ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�าปี 2556 ของบริษัทฯ มีมติอนุมัติให้บริษัทฯ ด�าเนินการลงทุนซื้อ
บริษัท ไทยเอกลักษณ์เพาเวอร์ จ�ากัด (“TEP”) เพื่อด�าเนินธุรกิจโรงงานไฟฟ้าชีวมวลขนาดก�าลังการผลิตทั้งสิ้น 50 เมกะวัตต์
จากผู้ถือหุ้นเดิม โดยโรงไฟฟ้าดังกล่าวจะรับวัตถุดิบชานอ้อยโดยตรงจาก TIS ในขณะเดียวกัน บริษัทฯ จัดตั้ง บริษัท รวมผลไบโอเพาเวอร์
จ�ากัด (“RPBP”) เพื่อด�าเนินกิจการโรงไฟฟ้าชีวมวลขนาดก�าลังการผลิตทั้งสิ้น 50 เมกะวัตต์ โดยโรงไฟฟ้าดังกล่าวจะรับวัตถุดิบ
ชานอ้อยโดยตรงจาก โรงงานรวมผล
นอกจากนี้ ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�าปี 2556 ของบริษัทฯ ยังมีมติอนุมัติให้ บริษัทฯ จัดตั้ง บริษัท ทรัพย์ศิริเกษตร จ�ากัด
(“SSK”) ขึ้นเพื่อด�าเนินการจัดหาที่ดินเพื่อรองรับการขยายธุรกิจของกลุ่มบริษัทฯ โดยในปี พ.ศ. 2556 SSK ได้ซื้อที่ดินจากบุคคลที่ไม่มี
ความเกี่ยวโยงกันกับบริษัทฯ จนมีเนื้อที่จ�านวน 2,629 ไร่ 1 งาน 16 ตารางวา
ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2556 บริษัท ซูมิโตโม คอร์ปอเรชั่น จ�ากัด และบริษัท นิสชิน ชูการ์ จ�ากัด ได้เข้าเซ็นสัญญาลงทุน
ในหุ้นสามัญของบริษัทฯ ผ่านบริษัท 3 เอส โฮลดิ้ง จ�ากัดเป็นจ�านวนเงินทั้งสิ้นไม่เกิน 2,650.0 ล้านบาท ทั้งนี้ ด้วยประสบการณ์ใน
การเป็นบริษัทเทรดดิ้งชั้นน�าของโลก บริษัทฯ คาดว่าการเข้าลงทุนของทั้ง 2 บริษัท จะช่วยเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันในระดับ
นานาชาติของบริษัทฯ อีกทั้งช่วยขยายฐานธุรกิจในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ในเดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 คณะกรรมการบริษัทฯ ได้มีมติอนุมัติจัดตั้ง (1) บริษัท ลพบุรี อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ จ�ากัด
(“LIS”) เพื่อรองรับแผนการขยายการผลิตและจัดจ�าหน่ายน�้าตาลทรายของกลุ่มบริษัทฯ (2) บริษัท ลพบุรีไบโอเอทานอล จ�ากัด (“LBE”)
เพื่อรองรับแผนการขยายการผลิตและจัดจ�าหน่ายเอทานอล และ (3) บริษัท ลพบุรีไบโอเพาเวอร์ จ�ากัด (“LBP”) เพื่อรองรับแผนการ
ขยายการผลิตและจ�าหน่ายไฟฟ้า โดย ปัจจุบัน บริษัทฯ อยู่ระหว่างการด�าเนินการขอใบอนุญาตจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และยื่นขอรับ
สิทธิการส่งเสริมการลงทุนจากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (BOI)
ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2557 คณะกรรมการบริษัทฯ ได้มีอนุมัติจัดตั้ง (1) บริษัท เคทิส ไบโอแก๊ส เพาเวอร์ จ�ากัด (“KBGP”)
เพื่อรองรับแผนการขยายการผลิตและจ�าหน่ายไฟฟ้า (2) บริษัท เคทิส ชีวพลังงาน จ�ากัด (“KBE”) เพื่อรองรับแผนการขยายการผลิต
และจ�าหน่ายเอทานอล และไฟฟ้าชีวมวล ปัจจุบันอยู่ระหว่างศึกษาโครงการเพื่อการด�าเนินการต่อไป
34