Page 47 - Kaset Thai International Sugar Corporation Public Company Limited : Annual Report 2014 TH
P. 47
KTIS
More Than Sugar
2. กลุ่มผู้กระจายสินค้า (ยี่ปั๊ว)
บริษัทฯ มีการจัดจำาหน่ายผลิตภัณฑ์นำ้าตาลทรายผ่านผู้กระจายสินค้าโดยทำาการจัดจำาหน่ายหน้าโรงงาน บริษัทฯ มีราย
ได้จากการขายให้ผู้กระจายสินค้า คิดเป็นสัดส่วนที่น้อยเมื่อเทียบกับกลุ่มลูกค้าอุตสาหกรรม การจัดจำาหน่ายให้ผู้กระจาย
สินค้าอาจต้องทำาการขายโดยให้ส่วนลดจากราคาที่ประกาศโดยกระทรวงพาณิชย์ ทั้งนี้ส่วนลดขึ้นอยู่กับสภาวะตลาดของผู้ซื้อ
ว่ามีความต้องการนำ้าตาลทรายมากน้อยเพียงใด
3. ลูกค้าต่างประเทศ
บริษัทฯ ส่งออกสินค้านำ้าตาลทรายส่วนใหญ่ให้กับลูกค้าจากประเทศญี่ปุ่นซึ่งคิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 60.0 ของ
รายได้การขายนำ้าตาลทรายต่างประเทศทั้งหมด ทั้งนี้ลูกค้าต่างประเทศของบริษัทฯ เป็นประเภทเทรดเดอร์ที่รู้จักกันในวงการ
อุตสาหกรรมอย่างแพร่หลาย เช่น Cargill International S.A., Bunge Agribusiness Singapore, Sumitomo
Corporation, Marubeni Europe และ Mitsubishi Corporation เป็นต้น ทั้งนี้บริษัทฯให้ความสำาคัญต่อเทรดเดอร์ในประเทศ
ญี่ปุ่น ซึ่งเป็นกลุ่มลูกค้าเป้าหมายของบริษัทฯ ในการส่งออกนำ้าตาลทรายดิบ J-Spec
2. ธุรกิจผลิตและจัดจ�าหน่ายเยื่อกระดาษฟอกขาวจากชานอ้อย
บริษัทฯ ดำาเนินธุรกิจผลิตและจัดจำาหน่ายเยื่อกระดาษฟอกขาวจากชานอ้อย ผ่าน EPPCO ซึ่งมีกำาลังการผลิตทั้งสิ้นประมาณ
100,000 ตันต่อปี โรงงาน EPPCO เป็นโรงงานผลิตเยื่อกระดาษฟอกขาวจากชานอ้อยแห่งเดียวในประเทศไทยที่ ใช้วัตถุดิบหลัก
คือชานอ้อย ซึ่งเป็นวัสดุเหลือใช้จากกระบวนการผลิตนำ้าตาลทรายของบริษัทฯ ปัจจุบันผลิตภัณฑ์ของ EPPCO สามารถแบ่งได้
เป็น 2 ชนิดได้แก่ เยื่อกระดาษแห้ง และเยื่อกระดาษเปียก
• เยื่อกระดาษแห้ง (Dry Pulp)
เยื่อกระดาษแห้ง คือ เยื่อกระดาษที่ผลิตได้จากวัตถุดิบชานอ้อย มีความชื้นประมาณร้อยละ 10.0 – 12.0 มีนำ้าหนักต่อก้อน
ประมาณ 250 กิโลกรัม ความสว่างของเยื่อกระดาษมีค่าไม่น้อยกว่าร้อยละ 80.0 ISO1 มีค่าความสกปรกของเยื่อ (TAPPI Dirt
Count) ไม่สูงกว่า 10 ppm2 เยื่อกระดาษแห้งสามารถเก็บได้นาน EPPCO จัดจำาหน่ายเยื่อกระดาษแห้งทั้งในประเทศ และต่าง
ประเทศ โดยผลิตภัณฑ์ดังกล่าวถือเป็นผลิตภัณฑ์หลักของธุรกิจเยื่อกระดาษฟอกขาวจากชานอ้อย
• เยื่อกระดาษเปียก (Wet Pulp)
เยื่อกระดาษเปียก คือ เยื่อกระดาษที่ผลิตได้จากวัตถุดิบชานอ้อย มีความชื้นประมาณร้อยละ 50.0 - 52.0 มีนำ้าหนักต่อ
ก้อนประมาณ 225 กิโลกรัม แต่มีค่าความสว่างและค่าความสกปรกของเยื่อ (TAPPI Dirt Count) เทียบเท่ากับเยื่อกระดาษแห้ง
เยื่อกระดาษเปียกสามารถนำาไปใช้ในกระบวนการผลิตกระดาษได้ง่ายกว่าเยื่อกระดาษแห้ง เนื่องจากมีความชื้นที่สูงกว่า ส่งผลให้
ประหยัดเวลาในกระบวนการนำาเยื่อกระดาษกลับไปต้มนำ้าอีกครั้ง อย่างไรก็ดีเยื่อกระดาษเปียกมีอายุการเก็บรักษาสั้นกว่า และมี
ค่าใช้จ่ายในการขนส่งที่สูงกว่าเมื่อเทียบกับเยื่อกระดาษแห้ง ดังนั้น EPPCO จึงจัดจำาหน่ายเยื่อกระดาษเปียกภายในประเทศเท่านั้น
สภาวะตลาดและการแข่งขัน - เยื่อกระดาษ
1. ภาวะอุตสาหกรรมตลาดโลก
จากสภาพเศรษฐกิจโลกที่ยังคงอ่อนตัวในปี 2557 ได้ส่งผลผลกระทบเป็นวงกว้างต่ออุตสาหกรรมเยื่อและกระดาษ
โดยเฉพาะอย่างยิ่งในส่วนของกระดาษพิมพ์เขียนอันมีผลจากการลงทุนตั้งเครื่องจักรขนาดใหญ่ในประเทศจีนที่ได้มีการเดินเครื่อง
ทำาการผลิตแล้วก่อนหน้านี้ ทำาให้เกิดสภาวะ over supply ด้านกระดาษพิมพ์เขียนในประเทศจีน ทำาให้การสั่งซื้อเยื่อกระดาษเกิด
การชะลอตัว ประกอบกับการเดินเครื่องจักรผลิตเยื่อใยสั้นในประเทศอเมริกาใต้ ได้ทำาให้เกิดภาวะ over supply ของเยื่อใยสั้น และ
ส่งผลให้ราคาขายเยื่อกระดาษอ่อนตัวลงในช่วงไตรมาสที่ 1 ของปี 2557 และต่อเนื่องถึงไตรมาสที่ 4 ของปี 2557
รายงานประจ�าปี 2557
45
More Than Sugar
2. กลุ่มผู้กระจายสินค้า (ยี่ปั๊ว)
บริษัทฯ มีการจัดจำาหน่ายผลิตภัณฑ์นำ้าตาลทรายผ่านผู้กระจายสินค้าโดยทำาการจัดจำาหน่ายหน้าโรงงาน บริษัทฯ มีราย
ได้จากการขายให้ผู้กระจายสินค้า คิดเป็นสัดส่วนที่น้อยเมื่อเทียบกับกลุ่มลูกค้าอุตสาหกรรม การจัดจำาหน่ายให้ผู้กระจาย
สินค้าอาจต้องทำาการขายโดยให้ส่วนลดจากราคาที่ประกาศโดยกระทรวงพาณิชย์ ทั้งนี้ส่วนลดขึ้นอยู่กับสภาวะตลาดของผู้ซื้อ
ว่ามีความต้องการนำ้าตาลทรายมากน้อยเพียงใด
3. ลูกค้าต่างประเทศ
บริษัทฯ ส่งออกสินค้านำ้าตาลทรายส่วนใหญ่ให้กับลูกค้าจากประเทศญี่ปุ่นซึ่งคิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 60.0 ของ
รายได้การขายนำ้าตาลทรายต่างประเทศทั้งหมด ทั้งนี้ลูกค้าต่างประเทศของบริษัทฯ เป็นประเภทเทรดเดอร์ที่รู้จักกันในวงการ
อุตสาหกรรมอย่างแพร่หลาย เช่น Cargill International S.A., Bunge Agribusiness Singapore, Sumitomo
Corporation, Marubeni Europe และ Mitsubishi Corporation เป็นต้น ทั้งนี้บริษัทฯให้ความสำาคัญต่อเทรดเดอร์ในประเทศ
ญี่ปุ่น ซึ่งเป็นกลุ่มลูกค้าเป้าหมายของบริษัทฯ ในการส่งออกนำ้าตาลทรายดิบ J-Spec
2. ธุรกิจผลิตและจัดจ�าหน่ายเยื่อกระดาษฟอกขาวจากชานอ้อย
บริษัทฯ ดำาเนินธุรกิจผลิตและจัดจำาหน่ายเยื่อกระดาษฟอกขาวจากชานอ้อย ผ่าน EPPCO ซึ่งมีกำาลังการผลิตทั้งสิ้นประมาณ
100,000 ตันต่อปี โรงงาน EPPCO เป็นโรงงานผลิตเยื่อกระดาษฟอกขาวจากชานอ้อยแห่งเดียวในประเทศไทยที่ ใช้วัตถุดิบหลัก
คือชานอ้อย ซึ่งเป็นวัสดุเหลือใช้จากกระบวนการผลิตนำ้าตาลทรายของบริษัทฯ ปัจจุบันผลิตภัณฑ์ของ EPPCO สามารถแบ่งได้
เป็น 2 ชนิดได้แก่ เยื่อกระดาษแห้ง และเยื่อกระดาษเปียก
• เยื่อกระดาษแห้ง (Dry Pulp)
เยื่อกระดาษแห้ง คือ เยื่อกระดาษที่ผลิตได้จากวัตถุดิบชานอ้อย มีความชื้นประมาณร้อยละ 10.0 – 12.0 มีนำ้าหนักต่อก้อน
ประมาณ 250 กิโลกรัม ความสว่างของเยื่อกระดาษมีค่าไม่น้อยกว่าร้อยละ 80.0 ISO1 มีค่าความสกปรกของเยื่อ (TAPPI Dirt
Count) ไม่สูงกว่า 10 ppm2 เยื่อกระดาษแห้งสามารถเก็บได้นาน EPPCO จัดจำาหน่ายเยื่อกระดาษแห้งทั้งในประเทศ และต่าง
ประเทศ โดยผลิตภัณฑ์ดังกล่าวถือเป็นผลิตภัณฑ์หลักของธุรกิจเยื่อกระดาษฟอกขาวจากชานอ้อย
• เยื่อกระดาษเปียก (Wet Pulp)
เยื่อกระดาษเปียก คือ เยื่อกระดาษที่ผลิตได้จากวัตถุดิบชานอ้อย มีความชื้นประมาณร้อยละ 50.0 - 52.0 มีนำ้าหนักต่อ
ก้อนประมาณ 225 กิโลกรัม แต่มีค่าความสว่างและค่าความสกปรกของเยื่อ (TAPPI Dirt Count) เทียบเท่ากับเยื่อกระดาษแห้ง
เยื่อกระดาษเปียกสามารถนำาไปใช้ในกระบวนการผลิตกระดาษได้ง่ายกว่าเยื่อกระดาษแห้ง เนื่องจากมีความชื้นที่สูงกว่า ส่งผลให้
ประหยัดเวลาในกระบวนการนำาเยื่อกระดาษกลับไปต้มนำ้าอีกครั้ง อย่างไรก็ดีเยื่อกระดาษเปียกมีอายุการเก็บรักษาสั้นกว่า และมี
ค่าใช้จ่ายในการขนส่งที่สูงกว่าเมื่อเทียบกับเยื่อกระดาษแห้ง ดังนั้น EPPCO จึงจัดจำาหน่ายเยื่อกระดาษเปียกภายในประเทศเท่านั้น
สภาวะตลาดและการแข่งขัน - เยื่อกระดาษ
1. ภาวะอุตสาหกรรมตลาดโลก
จากสภาพเศรษฐกิจโลกที่ยังคงอ่อนตัวในปี 2557 ได้ส่งผลผลกระทบเป็นวงกว้างต่ออุตสาหกรรมเยื่อและกระดาษ
โดยเฉพาะอย่างยิ่งในส่วนของกระดาษพิมพ์เขียนอันมีผลจากการลงทุนตั้งเครื่องจักรขนาดใหญ่ในประเทศจีนที่ได้มีการเดินเครื่อง
ทำาการผลิตแล้วก่อนหน้านี้ ทำาให้เกิดสภาวะ over supply ด้านกระดาษพิมพ์เขียนในประเทศจีน ทำาให้การสั่งซื้อเยื่อกระดาษเกิด
การชะลอตัว ประกอบกับการเดินเครื่องจักรผลิตเยื่อใยสั้นในประเทศอเมริกาใต้ ได้ทำาให้เกิดภาวะ over supply ของเยื่อใยสั้น และ
ส่งผลให้ราคาขายเยื่อกระดาษอ่อนตัวลงในช่วงไตรมาสที่ 1 ของปี 2557 และต่อเนื่องถึงไตรมาสที่ 4 ของปี 2557
รายงานประจ�าปี 2557
45