Page 57 - Kaset Thai International Sugar Corporation Public Company Limited : Annual Report 2014 TH
P. 57
KTIS


More Than Suga
โดยความร่วมมือของฝ่ายไร่กับชาวไร่ในการเร่งฟื้นฟูอ้อย เพื่อรักษาปริมาณผลผลิตอ้อยให้เป็นไปตามที่ประมาณการไว้และการลด
โอกาสเกิดความเสี่ยงโดยใช้ระบบการวัดบริกซ์อ้อยเปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมาเพื่อเป็นข้อมูลในการคัดเลือกแปลงตัดและก�าหนด
วันหีบที่เหมาะสม ขณะที่ฝ่ายโรงจักรได้มีการป้องกันความเสี่ยงโดยมุ่งเน้นการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตเพื่อท�าน�้าตาลให้มากขึ้น

นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังก�าหนดมาตรการเพื่อลดผลกระทบที่อาจเกิดจากความเสี่ยงดังกล่าวต่อผลก�าไรรวมของกลุ่มบริษัทฯ
โดยได้มีนโยบายให้โรงงานต่างๆ ได้แก่ โรงงานไฟฟ้าชีวมวล โรงงานเยื่อกระดาษ โรงงานเอทานอล มุ่งเน้นการท�าก�าไรให้มากขึ้น
เพื่อชดเชยกับการที่โรงงานน�้าตาลทั้ง 3 แห่งอาจมีผลก�าไรน้อยลงกว่าที่คาดหมาย


4. ความเสี่ยงจากการขาดแคลนวัตถุดิบ(ชานอ้อย) ในการผลิตกระแสไฟฟ้า

และเยื่อกระดาษ

จากการขยายธุรกิจของบริษัทฯ ที่มุ่งเน้นไปยังกิจการพลังงานในการผลิตและจ�าหน่ายกระแสไฟฟ้านั้น เป็นการน�าผลพลอยได้
จากการผลิตน�้าตาลซึ่งได้แก่ชานอ้อยมาก่อให้เกิดมูลค่าเพิ่มทั้งในส่วนของการผลิตเยื่อกระดาษฟอกขาวจากชานอ้อยที่ด�าเนินการ
อยู่แล้ว และได้เพิ่มโครงการผลิตและจ�าหน่ายกระแสไฟฟ้า ปริมาณชานอ้อยจึงเป็นปัจจัยที่ส�าคัญที่อาจก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อ
การด�าเนินงานของบริษัทฯ ได้




บริษัทฯ จึงได้ก�าหนดมาตรการป้องกันความเสี่ยงในเรื่องดังกล่าวโดยได้เตรียมการจัดหาเชื้อเพลิงชนิดอื่นมาทดแทนชานอ้อย
ในการผลิตกระแสไฟฟ้าทั้งในระยะสั้นและระยะยาว ซึ่งในปี 2558 นี้ได้เตรียมน�าใบอ้อย, ไม้สับ, ใบและต้นข้าวโพด, ซังข้าวโพด, เหง้า
มัน มาใช้เป็นเชื้อเพลิง ทั้งนี้ยังคงมุ่งไปที่ใบอ้อยเพราะเป็นสิ่งที่ได้จากการปลูกอ้อยของเกษตรกรชาวไร่อ้อยคู่สัญญาอยู่แล้วร่วมกับ
การจัดหาซื้อชานอ้อยจากโรงงานอื่น ส�าหรับแผนระยะยาวนั้นบริษัทฯได้ท�าการศึกษาการปลูกพืชพลังงาน เพื่อน�ามาใช้เป็นเชื้อเพลิง
ซึ่งจะก่อให้เกิดความมั่นคงในการจัดการเชื้อเพลิงที่จะใช้ในการผลิตกระแสไฟฟ้าต่อไปในอนาคต


ในส่วนของการผลิตเยื่อกระดาษบริษัทฯได้ท�าการศึกษาหาวัตถุดิบชนิดอื่นๆมาทดแทนชานอ้อย ซึ่งได้แก่ไม้ยูคา ปอ เป็นต้น
และยังได้เตรียมน�าเยื่อกระดาษที่ผลิตได้ไปสร้างมูลค่าเพิ่มโดยการผลิตบรรจุภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมเพื่อสร้างรายได้ที่สูงขึ้นต่อไป



นอกจากนี้เพื่อให้มีชานอ้อยคงเหลือส�าหรับน�าไปใช้ในการผลิตกระแสไฟฟ้าและเยื่อกระดาษได้มากขึ้น บริษัทฯได้ก�าหนด
นโยบายลดการใช้พลังงาน โดยให้โรงงานน�้าตาลก�าหนดเป็นแผนงานระยะยาวในการปรับปรุงประสิทธิภาพเครื่องจักรเพื่อลดการ
ใช้พลังงาน ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2557และคาดว่าจะเสร็จสมบูรณ์ในปี พ.ศ. 2560 ทั้งนี้ในแต่ละปีจะสามารถลดการใช้พลังงานลงได้ตามล�าดับ

































รายงานประจ�าปี 2557
55
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62